วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

Marketing Model Chapter 11 : Strategy Theory

Strategy Theory โดย นิวรรณ เตือนใจยา นักศึกษาปริญญาเอก DBA 6 Sripatum University เสนอ ผศ.ดร.วิชิต อู่อ้น

ความหมาย
ของการจัดการเชิงกลยุทธ์  การจัดการเชิงกลยุทธ์ มุ่งเน้นที่การใช้เหตุผล เพื่อกำหนดกระบวนการออกแบบ วางแผน และวางบทบาท จุดยืนขององค์กร การจัดการกลยุทธ์ครอบคลุมประเด็น สำคัญ 3 ส่วนได้แก่

การกำหนดยุทธศาสตร์ (Strategic Formulation)
 การดำเนินยุทธศาสตร์ (Strategic Implementation)
 การควบคุมกำกับยุทธศาสตร์ (Strategic Control)

  องค์ประกอบของกลยุทธ์ทางการตลาด (Kolter & Keller, Marketing Management , 2010)
1.      Mission
2.      Marketing Objectives
3.      Financials Objectives
4.      Target Markets
5.      Positioning
6.      Strategies
7.      Marketing Program
8.      Marketing Research


 การประยุกต์ใช้และตัวชี้วัด


หากเราศึกษา แนวคิด ทฤษฎี กลยุทธ์ ทางการตลาดจะพบว่า การได้เปรียบทางธุรกิจ เพราะ การวางแผนการตลาด โดยใช้แนวทาง  การวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด โดย วิเคราะห์ตลาดและการแข่งขัน ตลาดผลิตภัณฑ์การประเมินกลยุทธ์ การแบ่งส่วนตลาด และออกแบบกลยุทธ์การตลาด อย่างเหมาะสม ด้วย กำหนดตลาดเป้าหมาย สร้างการสื่อสารผ่าน กลยุทธ์การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า หรือจะขยาย ตลาดด้วยการใช้ กลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การพัฒนาโปรแกรมการตลาด ผ่าน กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์ราคา ,กลยุทธ์การจัดจำหน่าย ,กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาด และที่สำคัญที่สุด คือการปฏิบัติและการบริหารกลยุทธ์การตลาดด้วยการออกแบบการจัดการและมอบหมายแผน  การปฏิบัติการและการประเมินผลของกลยุทธ์การตลาด ได้อย่างไม่บกพร่องแล้วนั้น



Review Marketing Model Chapter 3 Organization Buying Behaior Word

Review Marketing Model Chapter 3 Organization Buying Behaior Word
โดย นิวรรณ เตือนใจยา นักศึกษาปริญญาเอก DBA 6 Sripatum University เสนอ ผศ.ดร.วิชิต อู่อ้น

จากการทบทวนวรรณกรรมและศึกษาโมเดล ที่เกี่ยวกับ พฤติกรรมการจัดซื้อองค์กร ที่พบว่ามี โมเดลที่เกี่ยวข้อง
กับทฤษฎีนี้อยู่เป็นจำนวนมาก โดยอ้างอิงได้ดังนี้

The Decision Process Model (Webster 1965)
The Buygrid (Robinson, Faris and Wind 1967)
The Compact (competence - activity ) Model (Robinson and Stidsen 1967)
Simulation Models (Wind and Robinson 1968)
Information Processing (Howard and Morgenroth 1968)
Decision Stage Model (Saleh et a l. 1971)
Organizational Buying Behavior Model (Webster and Wind 1972)
Industrial Buying Behavior Model (Sheth 1973)
The Dyadic Paradigm (Bonoma, Bagozzi and Zaltman 1975)
The Interactive Process Model (Backhaus and Gunter 1976)
Industrial Market Response Model (Choffray and Li lien 1978)
(Ghingold 1985)

ดังนั้นผู้วิจัยสามารถสรุป พฤติกรรมการซื้อองค์กร ได้ดังนี้


ความหมาย พฤติกรรมการซื้อตลาดองค์กร
         
     ตลาดอุตสาหกรรม หรือตลาดผู้ผลิต หรือตลาดธุรกิจประกอบด้วยกลุ่มบุคคล และองค์การ/องค์กรซึ่งมีความ
ต้องการสินค้าหรือบริการ เพื่อใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการในการนําเสนอขายหรือเพื่อให้บริการต่อไป
ผู้ซื้อหรือผู้ใช้ ในตลาดผู้ผลิตเรียกว่า ผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม (Industrial Users) ซึ่งหมายถึงองค์การที่ซื้อสินค้า
หรือบริการเพื่อนําไปใช้ผลิตสินค้าหรือบริการ หรือใช้ในธุรกิจของตนเอง (Wilson, 2000) การจัดซื้อองค์การจึง
หมายถึงการบริหารจัดการแหล่งทรัพยากรภายนอกขององค์กรซึ่งได้แก่ สินค้างานบริการนำเข้ามาผ่านการจัด
ซื้อโดยฝ่ายจัดซื้อขององค์กรต้องใช้ความสามารถ (Capabilities)และความรู้(Knowledge)เป็นส่วนสำคัญใน
การดำเนินงานเพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งคุณค่าที่องค์กรกำหนดไว้เพื่อใช้ในการบริหารจัดการใน
กิจกรรมหลัก(PrimaryActivities) คือ Supply Cain ประกอบด้วย Inboundlogistic(Input) Operation(Process) Outbound logistic(Output) Marketing Services
กิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) ขององค์กร เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยสามารถนำออกขาย
แล้วมีกำไร (ธัญพร วันหลัง 2550)

โดยกิจกรรมของผู้จัดซื้อควรยึดหลัก 5 R’s  ซึ่งประกอบด้วยการพิจารณาภายใต้แนวความคิดของความถูกต้อง
เป็นหลัก ซึ่งประกอบด้วย  การเลือกสถานที่ที่เหมาะสม Right Place เลือกสินค้าให้ได้ คุณสมบัติที่ถูกต้อง
Right Quality เลือกซื้อจากแหล่งที่ถูกต้อง Right Source ในราคาที่ถูกต้อง Right Price และตรงต่อความ
ต้องการของลูกค้า Right What  เพื่อสามารถวัดผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กระบวนการตัดสินใจขององค์การมาจากการกำหนดความต้องการของสินค้าและบริการที่ต้องการซื้อโดยต้องคำ
นึกถึงความคาดหวังของกลุ่มที่มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดซื้อทั้งภายในและภายนอกองค์กร และมีความสามารถ
ในการระบุประเมินเลือกตรายี่ห้อและผู้ขายรายต่างๆการซื้อขององค์การมีข้อที่ควรพิจารณาคือ
(1) องค์การไม่ได้ซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อการบริโภคหรืออรรถประโยชน์ส่วนบุคคล แต่ต้องการสินค้าและบริการเพื่อใช้
ในการผลิต การขายต่อหรือการให้บริการต่อไป (2) บุคคลหลายคนเกี่ยวข้องกับการซื้อขององค์การ โดย
เฉพาะรายการสินค้าที่สำคัญๆ ผู้ตัดสินใจโดยทั่วไปจะมีหน้าที่ความรับผิดชอบในองค์การและการตัดสินใจซื้อ
(3) องค์การจะกำหนดนโยบาย เงื่อนไข และความต้องการเอาไว้ ซึ่งผู้ซื้อขายขององค์การจะต้องระมัดระวังเกี่ยวกับ
สิ่งที่องค์การกำหนดเอาไว้ และ (4) เงื่อนไข ข้อเสนอ และสัญญาซื้อขายจะต้องมีขึ้นในการซื้อขององค์การ
(สาวแก้วตา ภูมิภาคิน 2552)


ตัวชี้วัดและการประยุกต์ใช้

     การศึกษาพฤติกรรมการซื้อระดับองค์กรนี้ หากเราเข้าใจในตัวธุรกิจ นโยบายขององค์กร ที่แท้จริงถึงการส่งมอบสินค้าหรือบริการตามที่องค์กรได้ให้คำมั่นสัญญาไว้กับลูกค้า และเข้าใจในระบบการวางแผนการใช้เงินอย่างคุ้มค่าและในเวลาที่ถูกต้อง และสามารถควบคุมและดำเนินการให้เป็นไปตามระบบและเข้าใจในองค์ประกอบและปัจจัย จนนำไปสู่ การมีต้นทุนที่ต่ำลงแต่มีคุณภาพของสิ่งที่จัดซื้อและเหมาะสม และผลที่ได้รับคือ ยังคงสามารถส่งต่อ สินค้าและบริการไปยัง คู่ค้า หรือลูกค้าและนำไปสู่ความพึงพอใจและยอดขายแบบเต็มประสิทธิภาพการวางแผนโดยยึดแนวคิดพฤติกรรมการซื้อระดับองค์กร Organization Buyer Behavior  โดยมีการประยุกต์เข้ากับแนวคิดประสิทธิภาพ และยึดเป็นหลักในการกำหนดพฤติกรรมการจัดซื้อองค์กร ในการดำเนินการของ บริษัท/ องค์กร ด้วยการให้ ความสำคัญของการลดต้นทุนจากการจัดซื้อ  การระบุข้อมูลและสร้างเป้าหมายที่ชัดเจนใน Value Chain เพื่อให้เกิดความเข้าใจในกิจกรรมหลักและกิจกรรมสนับสนุน ของภาระการจัดซื้อสินค้าระดับองค์กร  การสรรหาแหล่งเทคโนโลยี และวิธีการเพื่อปรับปรุงระยะเวลาการทำงาน (Cycle Time) การค้นพบผู้ขาย (Supplier) และให้ผู้ขายเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาปรับปรุงผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิต และการปรับปรุงกระบวนการให้กระชับขึ้น (Streamline Process) รวมไปถึงการให้ความสำคัญในการคัดสรรบุคลากรที่ทำหน้าที่จัดซื้อ  การดำเนินงานทั้งหมดก็จะเกิดประสิทธิภาพ และการจัดซื้อระดับองค์กรนี้ ตัวชี้วัด คือความถูกต้องโดยกิจกรรมของ  ซึ่งประกอบด้วยการพิจารณาภายใต้แนวความคิดของความถูกต้อง เป็นหลัก ซึ่งประกอบด้วย  การเลือกสถานที่ที่เหมาะสม Right Place เลือกสินค้าให้ได้ คุณสมบัติที่ถูกต้อง Right Quality เลือกซื้อจากแหล่งที่ถูกต้อง Right Source ในราคาที่ถูกต้อง Right Price และตรงต่อความต้องการของลูกค้า Right What  และ ทฤษฎี พฤติกรรมการจัดซื้อองค์กรนี้เอง ก็จะกลายเป็นกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจให้ไม่เข้าไปสู่ความผิดพลาดทางด้าน ต้นทุน และกำไร ได้อย่างแม่นยำและจะส่งผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพ ให้กับแนวคิดการดำเนินการด้านกลยุทธ์อีกด้วย


องค์ประกอบของการจัดซื้อ

     1.ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม คือ แรงผลักดัน เช่น คู่แข่ง และปัจจัยทางเศรษฐกิจแรงผลักดันทางเมือง ปัจจัยกฎหมาย ข้อบังคับ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และปัจจัยสังคมวัฒนธรรม แรงผลักดันเหล่านี้สร้างความไม่แน่นอนอย่างมากให้แก่องค์การและความไม่แน่นอนสามารถทำให้บุคคลในศูนย์กลางการจัดซื้อเป็นกังวลเกี่ยวกับการซื้อบางประเภทการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยสิ่งแวดล้อมเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่อง อาจก่อให้เกิดโอกาสหรืออุปสรรคในการซื้อครั้งใหม่ ตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยีสามารถทำให้การตัดสินใจซื้อทำได้ยากสำหรับสินค้า เช่น รถยนต์
     2. ปัจจัยด้านองค์การ มีอิทธิพลต่อกระบวนการซื้อขององค์การเกี่ยวกับวัตถุประสงค์นโยบายการจัดซื้อ ทรัพยากร รวมถึงขนาดและองค์ประกอบของศูนย์กลางการจัดซื้อ องค์การอาจมีนโยบายการซื้อที่สมาชิกในศูนย์กลางการจัดซื้อจะต้องปฏิบัติตาม เช่น บริษัทอาจมีนโยบายบังคับให้ทำสัญญาระยะยาว ซึ่งอาจยาวนานกว่าที่ผู้ขายทั้งหลายต้องการ ทรัพยากรทางการเงินของบริษัทอาจทำให้ต้องสร้างเงื่อนไขสินเชื่อพิเศษ ซึ่งสถานการณ์เหล่านี้อาจมีผลกระทบต่อกระบวนการซื้อ
     3. ปัจจัยด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล คือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในศูนย์กลางการจัดซื้อ การใช้อำนาจและระดับของความขัดแย้งระหว่างสมาชิกในศูนย์กลางการจัดซื้อมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อขององค์การ บุคคลบางคนในศูนย์กลางการจัดซื้ออาจเป็นนักสื่อสารที่ดีกว่าบุคคลอื่นจึงอาจชักจูงใจได้ดีกว่า บ่อยครั้งที่ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงและบุคคลจะเก็บไว้ภายในใจ ทำให้นักการตลาดสามารถประเมินหรือเข้าถึงได้ยาก
     4. ปัจจัยส่วนบุคคล คือ ลักษณะของบุคคลในศูนย์กลางการจัดซื้อ เช่น อายุ การศึกษารายได้ บุคลิก และตำแหน่งในองค์การ ตัวอย่างเช่น ผู้จัดการอายุ 55 ปี ซึ่งทำงานในองค์การมากกว่า 25 ปี อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของศูนย์กลางการจัดซื้อแตกต่างไปจากพนักงานบริษัทอายุ 30 ปี ที่ทำงานมาประมาณ 2 ปี ปัจจัยเหล่านี้จะมีอิทธิพลมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับสถานการณ์การซื้อ ประเภทของสินค้าที่ซื้อ และขึ้นอยู่กับประเภทของการซื้อว่าเป็นแบบการจัดซื้อซ้ำแบบตรง การซื้อซ้ำแบบงานประจำ หรือการซื้อแบบงานใหม่ รูปแบบการเจรจาต่อรองของบุคคลจะแตกต่างกันไปในแต่ละองค์การ ดังนั้น เพื่อให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นักการตลาด ต้องรู้จักลูกค้าดีพอที่จะรู้ถึงปัจจัยส่วนบุคคลเหล่านี้และผลกระทบที่อาจมีต่อกระบวนการซื้อ (สาวแก้วตา ภูมิภาคิน 2552)

อ้างอิงโดย
1 Ghingold, M. (1985). A SOCIAL PROCESS EXAMINATION OF ORGANIZATIONAL BUYINGBEHAVIOR (MARKETING,INDUSTRIAL BUYING), The Pennsylvania State University. Ph.D.: 450 p.
2 Chang, Milton( 2010). How do I build a better business by buying
3 Horowitz, Carol R.Colson, Kathryn A. Hebert, Paul L. Lancaster, Kristie(2004). Barriers to Buying Healthy Foods for People With Diabetes: Evidence of Environmental Disparities, Journal American Journal of Public Health
4 Jing, Song(2010). Moving Purchase and Sitting Purchase: Housing Reform and Transition to Homeownership in Beijing, Journal Housing Studies
5 Shrader, Ralph W.(2010) Lau, Geok Theng(1990). The effects of buying task characteristics on buyer-seller conflict management behavior,
Ph.D.The University of Western Ontario (Canada)
6 Kristiansen, Stein Ramli, Muhid (2006). Buying an Income: The Market for Civil Service Positions in Indonesia, Journal Contemporary Southeast Asia: A Journal of International & Strategic Affairs
7 ธัญพร วันหลัง (2550). สภาพการดำเนินงานการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุของมหาวิทยาลัยราชภัฏ. การจัดการทั่วไป. อุบลราชธานี, มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี. ปริญญาโท.
8 สาวแก้วตา ภูมิภาคิน (2552). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดซื้อผลิตภัณฑ์เสริมสวยของร้านเสริมสวยในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. เชียงใหม่, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ปริญญาโท.
9 เปรมใจ บัวไสย,(2551). ความรู้ความเข้าใจการจัดซื้อจัดจ้างขององค์การบริหารส่วนตำบล อำเสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่  ,บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต,ขอนแก่น,มหาวิทยาลัยขอนแก่น
10 ด.ต.ณพวรรษ จันพานิชย์,(2553). การศึกษาสภาพปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างของตำรวจภูธรจังหวัดหนองคาย, การจัดการทั่วไป. มหาสารคาม,มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
11  นางอมรา วีระชัยเทวินทร์,(2553). การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดซื้อจัดจ้างขององค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์รัฐประศาสนศาสตร์,ขอนแก่น,มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Marketing Model Chapter 10 : New Product Planing Theory

New Product Planing Theory โดย นิวรรณ เตือนใจยา นักศึกษาปริญญาเอก DBA 6 Sripatum University เสนอ ผศ.ดร.วิชิต อู่อ้น





การวางแผนดานผลิตภัณฑใหม (New-Product Planning) 
ผลิตภัณฑใหมซึ้งเปนเสนเลือดใหญของบริษัท และชวยรักษาใหการเติบโตของธุรกิจ แตมี
ความเสี่ยงทางการเงินสูง กอนที่จะอภิปรายถึงขอการพัฒนาผลิตภัณฑใหมผูเขียนนําเสนอ

ความหมาย

ความหมายของผลิตภณฑั ใหม (Definition of New Product)
 ความหมายของแนวคิดผลิตภัณฑใหม ผลิตภัณฑใหมเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑที่มีอยูเดิม ถาผลิตภัณฑมีฟงกชันแตกตางจากผลิตภัณฑที่มีอยูเดิม แสดงวาเปนผลิตภัณฑใหม 
ผลิตภัณฑใหมตามกฎหมาย (Newness in Legal Form) ผลิตภัณฑใหมตามแนวคิดของบริษัท (Newness from the company’s Perspective) 





องค์ประกอบ


1 กลยุทธ์     Stratgy
2 ขบวนการ Process
3 ศักยภาะของบริษัท
4 พนักงาน
5 ผู้บริหารระดับสูง


การประยุกต์ใช้และตัวชี้วัด

กลยุทธของธุรกิจ New-Product Planning

เราควรศึกษา โอกาสของสินคา-ตลาด และจัดอันดับความสาคัญเพื่อเปนแนวทางในการ
วางแผนผลิตภัณฑความตองการของลูกค้าเปนขอมูลสําคัญเพื่อกาหนดความได้เปรียบเชิงการ
แขงขันที่จะไดรับจากการพฒนาผลิตภัณฑใหม
การระบุและประเมินสวนตลาดชวยกําหนดสวนตลาดที่สอดคลองกับโอกาสของ
ผลิตภัณฑใหมการวิเคราะหลูกคาและคูแขงขันในปจจุบันและอนาคตจะเปนประโยชนตอการ
วางแผนผลิตภัณฑใหมที่มีประสิทธิผล นวัตกรรมตั้งอยูบนฐานองคความรู (Knowledge based) องคการที่สรางนวัตกรรมตองมีความรูมากกวาคูแขงขันในดานความตองการของผูบริโภค และเทคโนโลยีในการตอบสนองความตองการของลูกคา  การพัฒนาผลิตภัณฑการทดสอบตลาด
 และ ทำการค้า
การนำสินคาใหม่สูตลาดควรพิจาณาประเด็นของ แผนการตลาด การประสานงานกบฝ่าย
ตางๆในองคการ การปฏิบตัิงานกลยทธุ การตลาด การติดตาม และควบคุมกลยุทธสินค้าใหม 
ขั้นตอนการยอมรับผลิตภัณฑประกอบดวย 5 ขั้นตอน การตระหนักถึง ความสนใจ การประเมิน

การทดลองใช้  และการยอมรับ 











Marketing Model Chapter 9: Distribution Theory

Distribution  Theory  โดย นิวรรณ เตือนใจยา นักศึกษาปริญญาเอก DBA 6 Sripatum University เสนอ ผศ.ดร.วิชิต อู่อ้น






ความหมาย
โครงสร้างของช่องทางที่ใช้เพื่อเคลื่อนย้ายสินค้าจากธุรกิจไปยังตลาด ตัวกลางทางการตลาดเป็นธุรกิจที่ช่วยเสริมช่วยขายและจำหน่ายสินค้าไปยังผู้ซื้อขั้นสุดท้าย ประกอบด้วย 
       1. คนกลาง (Middleman)
           - พ่อค้าคนกลาง (Merchant Middlemen)
           - ตัวแทนคนกลาง (Agent Middlemen) 
       2. ธุรกิจที่ทำหน้าที่กระจายสินค้า 
       3. ธุรกิจที่ให้บริการทางการตลาด 
       4. สถาบันการเงิน

องค์ประกอบ

1.Order Processing เป็นกิจกรรมที่เริ่มต้นในกระบวนการกระจายสินค้า
2.Warehousing
ปัจจัยส าคัญ คือ “การเลือกทำเลที่ตังคลังสินค้า” และ ศูนย์กระจายสินค้า (Distribution 
Center)
หน้าที่ของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า คือ
เตรียมสินค้าให้พร้อมและมีปริมาณมากพอ
รวบรวมสินค้าจากแหล่งต่าง ๆ 
แจกจ่ายสินค้าตามความต้องการของลูกค้า
เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมผลิตภัณฑ์หลายๆ สายผลิตภัณฑ์
3. Inventory Control
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง (ไม่นับรวมมูลค่าของสินค้า) 
แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการเก็บรักษา
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสั่งซื้อ
“ องค์ประกอบหลักของระบบการกระจายสินค้า คือ การควบคุมสินค้าคง
คลัง และการวางแผนส าหรับระดมสินค้าคงคลังที่เหมาะสม ”
องค์ประกอบหลักของระบบการกระจายสินค้า
4.Material Handling เป็ นการเลือกใช้อุปกรณ์ในการเคลื่อนย้ายและการขนส่งที่เหมาะสม
5. Packaging การเลือกบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม
6. Transportation ก
7. Communication and Data Interchange

องค์ประกอบหลักของระบบการกระจายสินค้า

ปัจจัยที่ต้องพิจารณาเพื่อการกำหนดกลยุทธ์การกระจายสินค้า
1. ลักษณะและความต้องการลูกค้า
2. ลักษณะของบริษัท
3. ลักษณะสินค้า
4. คู่แข่งขัน
5. ช่องทางการจัดจ าหน่าย
6. ข้อก าหนดทางกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง


การประยุกต์ใช้และตัวชี้วัด

การศึกษา แนวคิด เรื่อง Distribution นี้ เปรียบเสมือนการเปิด โอกาส ที่ทำให้ ผู้บริโภค ได้ เข้าถึงสินค้า หาก เราเป็นเจ้ของสินค้า หรือบริการ นั่นหมายถึง เราสามารถ ฝากการกระจายสินค้า ไว้ ที่ Distributor ที่ เหมาะสม และมีความเข้าใจในกลุ่มเป้าหมายที่สินค้าและบริการเราได้กำหนดไว้ หาก เราเป็น นักการตลาดที่มี Product เป็น Distribution นั่น หมายถึง เราต้องเป็นผู้ มีความชำนาญ เฉพาะกลุ่มเพื่อ ให้ กลายเป็นช่องทางการจำหน่ายที่ เป็นผู้ถือครองส่วนแบ่งการตลาดอันดับ 1 ในกลุ่ม  Distributor เดียวกัน นั่น ถึง จะเรียกได้ว่า การประยุกต์ใช้ แนวคิดDistributionที่มีประสิทธิภาพ

Marketing Model Chapter 8 : Sales Force Theory

Sales Force Theory  โดย นิวรรณ เตือนใจยา นักศึกษาปริญญาเอก DBA 6 Sripatum University เสนอ ผศ.ดร.วิชิต อู่อ้น




ความหมาย

กลุมบุคคลตั้งแตหนึ่งคนขึ้นไปทําหนาที่รับผิดชอบในการติดตอแสวงหาลูกคาการเสนอขาย ตลอดจนการใหบริการกอนและหลังการขาย


องค์ประกอบ

1. โครงสรางหนวยขายตามภูมิศาสตร (Geographically –based organization) จัด
หนวยขายลงพื้นที่และขายสินคาทุกชนิดของบริษัท
2. โครงสรางหนวยขายตามสินคา (Product –based organization) เนื่องจากบริษัทมี
สินคาหลากหลายจึงจัดหนวยขายตามประเภทของสินคา หรือสายผลิตภัณฑ
3. โครงสรางหนวยขายตามลูกคา (Customer–based organization) จัดหนวยขายตรง
4. โครงสรางหนวยขายตามหนาที่ (Function –based organization) แยกงานขาย
ใหกับฝายตางๆของบริษัท ดังนั้นจะมีหนวยขายที่บริการลูกคา เชน พนักงานติดตอลูกคา พนักงาน

ฝายติดตั้งสินคา

การประยุกต์ใช้

การจัดการหนวยขาย  เปนการกําหนดวาพนักงานขายควรทํา
อะไรบางเพื่อใหพนักงานขายใชทรัพยากรดานเวลาอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่ง

ประสิทธิภาพในการใชเวลา หมายถึง พนักงานขายสามารถวางแผนการใชเวลาไดอยางประหยัดและประสบผลสําเร็จ สวนประสิทธิผลในการใชเวลา หมายถึงการที่พนักงานขายใชเวลากับลูกคา
แลวทําใหลูกคาตัดสินใจซื้อการจูงใจพนักงานขายเปนการจูงใจการทํางานของพนักงานขายเชน
คาตอบแทนที่เหมาะสม การใหสิ่งจูงใจรางวัล หรือการสรางบรรยากาศที่ดีภายในองคการ 
การปรับปรุงประสิทธิผลในการขายของหนวยงานขาย ในการบริหารหนวยงานขายนั้น
ตองมีการปรับปรุงประสิทธิผลในการขายของหนวยงานขายซึ่งประกอบดวย (1) การฝกอบรม
ศิลปะการขาย (2) ทักษะการเจราจาขาย (3) ทักษะการสรางความสัมพันธกับลูกคา ขั้นตอนการ
ขาย มี 7 ขั้นตอน ไดแกการแสวงหาลูกคาและการกําหนดคุณสมบัติของลูกคา การเตรียมการ
กอนเขาพบลูกคา การเขาพบลูกคา และการเสนอขาย และ การขจัดขอโตแยง การปดการขาย

และการติดตามผลและการรักษาลูกคา