วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

Marketing Model Chapter 10 : New Product Planing Theory

New Product Planing Theory โดย นิวรรณ เตือนใจยา นักศึกษาปริญญาเอก DBA 6 Sripatum University เสนอ ผศ.ดร.วิชิต อู่อ้น





การวางแผนดานผลิตภัณฑใหม (New-Product Planning) 
ผลิตภัณฑใหมซึ้งเปนเสนเลือดใหญของบริษัท และชวยรักษาใหการเติบโตของธุรกิจ แตมี
ความเสี่ยงทางการเงินสูง กอนที่จะอภิปรายถึงขอการพัฒนาผลิตภัณฑใหมผูเขียนนําเสนอ

ความหมาย

ความหมายของผลิตภณฑั ใหม (Definition of New Product)
 ความหมายของแนวคิดผลิตภัณฑใหม ผลิตภัณฑใหมเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑที่มีอยูเดิม ถาผลิตภัณฑมีฟงกชันแตกตางจากผลิตภัณฑที่มีอยูเดิม แสดงวาเปนผลิตภัณฑใหม 
ผลิตภัณฑใหมตามกฎหมาย (Newness in Legal Form) ผลิตภัณฑใหมตามแนวคิดของบริษัท (Newness from the company’s Perspective) 





องค์ประกอบ


1 กลยุทธ์     Stratgy
2 ขบวนการ Process
3 ศักยภาะของบริษัท
4 พนักงาน
5 ผู้บริหารระดับสูง


การประยุกต์ใช้และตัวชี้วัด

กลยุทธของธุรกิจ New-Product Planning

เราควรศึกษา โอกาสของสินคา-ตลาด และจัดอันดับความสาคัญเพื่อเปนแนวทางในการ
วางแผนผลิตภัณฑความตองการของลูกค้าเปนขอมูลสําคัญเพื่อกาหนดความได้เปรียบเชิงการ
แขงขันที่จะไดรับจากการพฒนาผลิตภัณฑใหม
การระบุและประเมินสวนตลาดชวยกําหนดสวนตลาดที่สอดคลองกับโอกาสของ
ผลิตภัณฑใหมการวิเคราะหลูกคาและคูแขงขันในปจจุบันและอนาคตจะเปนประโยชนตอการ
วางแผนผลิตภัณฑใหมที่มีประสิทธิผล นวัตกรรมตั้งอยูบนฐานองคความรู (Knowledge based) องคการที่สรางนวัตกรรมตองมีความรูมากกวาคูแขงขันในดานความตองการของผูบริโภค และเทคโนโลยีในการตอบสนองความตองการของลูกคา  การพัฒนาผลิตภัณฑการทดสอบตลาด
 และ ทำการค้า
การนำสินคาใหม่สูตลาดควรพิจาณาประเด็นของ แผนการตลาด การประสานงานกบฝ่าย
ตางๆในองคการ การปฏิบตัิงานกลยทธุ การตลาด การติดตาม และควบคุมกลยุทธสินค้าใหม 
ขั้นตอนการยอมรับผลิตภัณฑประกอบดวย 5 ขั้นตอน การตระหนักถึง ความสนใจ การประเมิน

การทดลองใช้  และการยอมรับ 











ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น